ReadyPlanet.com


อลูมิเนียม 7075 T6


สวัสดีครับ ไม่ทราบว่ารับตัด อลูมิเนียม 7075 ไหมครับ หนา 3 mm รบกวนหาวัสดุให้ด้วย ขนาดประมาณ 1 ตรางเมตร  ไม่ทราบว่าน้ำหนักประมาณเท่าไหร่ ราคาประมาณกี่บาทครับ เดี๋ยวผมส่ง file CAD ให้ที่หลัง ขอบคุณครับ



ผู้ตั้งกระทู้ นิพนธ์ (phisado-at-hotmail-dot-com) :: วันที่ลงประกาศ 2010-01-21 13:03:09


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (1362502)

รับครับ แต่วัสดุต้องขอลองหาดูก่อนนะครับ เพราะเกรดนี้เราไม่มีในสต็อก

ส่วนเรื่องราคาค่าตัดนั้น ขึ้นอยู่กับระยะทางที่หัวเลเซอร์เดินครับ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดหรือว่าน้ำหนัก

เพราะฉะนั้นจะต้องเห็นแบบก่อน เพื่อคำนวณระยะทางและจำนวนรูที่เจาะทั้งหมด รวมไปถึงจำนวนที่ตัดเพื่อใช้คำนวณส่วนลดด้วยครับ

คุณนิพนธ์ ส่งไฟล์ CAD เข้ามาได้เลยครับที่ pands_enterprise@yahoo.com หรือ โทร.เข้ามาคุยกับฝ่ายขายเราก่อนก็ได้ครับ

ขอบคุณครับ

ผู้แสดงความคิดเห็น อภิชาติ วันที่ตอบ 2010-01-22 08:23:53


ความคิดเห็นที่ 2 (1362555)

ผมอยากทราบราคาวัสดุครับ ค่าตัดผมรู้ว่าไม่แพงครับ ผมเคยใช้บริการแล้ว บริการดี ตรงเวลา ประทับใจครับ ตอนนี้กำลังเลือกวัสดุอยู่ครับ ไม่ทราบว่าอลูมิเนียมเกรดนี้จะราคาสูงหรือเปล่า ผมยังไม่มีลายระเอียดของวัสดุเลย ผมจะลองหาดูก่อน (ถ้ามีรบกวนขอได้ไหมครับ) ยังไงขอราคาวัสดุก่อนได้ไหมครับ ถ้าราคาสูงเกินไป จะได้ลองหาวัสดุอื่น ขนาดงานผมอยู่ในพื้นที่ ประมาณ 1 ตารางเมตร ค่าตัดไม่เป็นไรครับ ถ้าสรุปได้ผมจะได้เขียนแบบ ใช้เวลาประมาณไม่เกิน 2 วัน ครับ ขอบคุณครับ หรือสะดวกโทรคุย 0815855400

ผู้แสดงความคิดเห็น นิพนธ์ (phisado-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2010-01-22 14:28:11


ความคิดเห็นที่ 3 (1362589)

เดี๋ยวผมจะลองเช็คราคาในตลาดให้นะครับ ถ้าได้เรื่องยังไงจะโทรไปแจ้งครับ

ขอบคุณมากครับ ..แหม ช่วยประชาสัมพันธ์ให้ด้วย :)

ผู้แสดงความคิดเห็น อภิชาติ วันที่ตอบ 2010-01-22 17:27:12


ความคิดเห็นที่ 4 (1362593)

ขอบคุณ เช่นกันครับ

ผู้แสดงความคิดเห็น นิพนธ์ วันที่ตอบ 2010-01-22 18:08:20


ความคิดเห็นที่ 5 (1380454)
ประชากรทั่วโลกร้อยละ 66 ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง จากการขาดธาตุ- เหล็ก สำหรับในประเทศไทยพบว่ามีผู้ที่พร่องและขาดธาตุเหล็กประมาณ 13 ล้านคน ผู้ที่ขาดธาตุเหล็ก จะมีการพัฒนาด้านต่างๆ ของร่างกายช้ากว่าคนปกติ การพัฒนาด้านสติปัญญา การเรียนรู้ ประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนด้านภูมิคุ้มกันโรคต่ำลง ยุทธศาสตร์ของการป้องกันการขาดธาตุเหล็กที่ มีอยู่ มักจะใช้วิธีการเสริมยาเม็ดธาตุเหล็กให้บริโภค หรือการเติมธาตุเหล็ก ในอาหารที่บริโภค แต่ยังประสบปัญหา การยอมรับ และ การครอบคลุมให้ทั่วถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายรวมทั้งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง การยกระดับปริมาณธาตุเหล็กในพืชอาหารหลักให้สูงขึ้น น่าจะเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดและมี ประสิทธิภาพ สำหรับประเทศไทยมีข้าวเป็นอาหารหลักที่ทุกคนต้องบริโภค ดังนั้น การปรับปรุง พันธุ์ข้าวให้มีปริมาณธาตุเหล็กสูงขึ้น น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การปรับปรุงความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว altความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว เมื่อเทียบกับธัญพืชอื่นๆ ถือว่าอยู่ใน ระดับที่ต่ำกว่า โดยเฉลี่ยคนไทยบริโภคข้าว 200-250 กรัม ต่อวัน ถ้าความต้องการธาตุเหล็กของร่างกายเฉลี่ยเท่ากับ 15 มก.ต่อวัน (RDA) เมล็ดข้าวจะต้องมีความหนาแน่นของธาตุเหล็กถึง 5 มก.ต่อ 100 กรัม เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับธาตุเหล็กจากข้าวในระดับ 1 ใน 3 ของ RDAปัจจุบันพันธุ์ข้าวที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปมีธาตุเหล็กในข้าวกล้องต่ำกว่า 1.3 มก./100 ก. ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีธาตุเหล็กสูง จึงดำเนินการโดยค้นหาข้าวธาตุเหล็กสูงจาก ข้าวพื้นเมือง เพื่อใช้เป็นพันธุ์สำหรับให้ลักษณะธาตุเหล็กสูง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักพบในข้าวที่มีเมล็ดสีดำ แต่อย่างไรก็ตามการใช้ข้าว จากฐานพันธุกรรมธรรมชาติยังมีข้อจำกัดเนื่องจากข้าวที่มีสีเข้มมักจะมี ปริมาณสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวก โพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก ในปริมาณมาก ในขณะที่ข้าวสีขาวมีสาร ยับยั้งการดูดซึมในปริมาณที่ต่ำกว่า จึงได้มีความพยายามที่จะผสมข้ามพันธุ์ ระหว่างข้าวสีขาวกับข้าวสีม่วง-ดำ เพื่อถ่ายทอดลักษณะธาตุเหล็กสูง ให้กับ พันธุ์ข้าวสีขาว ความสำเร็จในก้าวแรก ได้ค้นพบข้าวที่มีธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 1.6-2.1 มก./100 ก. พันธุ์บริสุทธิ์ที่ได้ให้ชื่อว่า สินเหล็ก เป็นข้าวสีขาว มีกลิ่นหอม มีอมัยโลสค่อนข้างต่ำ ต่อมาได้ค้นพบข้าวเจ้าและข้าวเหนียวสีขาวธาตุเหล็กสูงระดับ 2.2-2.8 มก./100 ก. จากคู่ผสมระหว่างข้าวไร่ หอมพม่าและก่ำดอยช้าง ส่วนพันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กสูงสุดระดับ 4.0 มก./100 ก. ได้จากข้าวคู่ผสมระหว่างข้าวป่านิวาราและเจ้าหอมนิล การปรับปรุงพันธุ์ ในขั้นต่อไปคือการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดมีความเป็นประโยชน์สูงขึ้น ความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็ก เป็นเรื่องยากในการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดข้าวและธัญพืชมีความเป็น ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากความเป็นประโยชน์มีความเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น รูปแบบการสะสมธาตุ เหล็ก, สัดส่วนของสารกระตุ้นและสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก โดยธรรมชาติของเมล็ดธัญพืชจะมี สารที่มีผลในการยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวกโพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก อยู่ในปริมาณมาก การลดสารเหล่านี้ถือว่าเป็นเป้าหมายหลักของการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้าง พันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กในรูปที่เป็นประโยชน์สูง ส่วนปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการดูดซึม ในปัจจุบันยังไม่สามารถเข้าใจได้ชัดเจน รู้แต่เพียงว่า วิตามินซี, กรดอะมิโน เช่น cystein และ oligosacharide สายสั้นๆ พวก inulin น่าจะมีผล ช่วยส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กจากเมล็ดข้าวขัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ห้องปฏิบัติการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กจำลองแห่งแรกใน ประเทศไทย alt ได้มีการพัฒนาวิธีตรวจสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กโดยใช้ Caco-2 cells ซึ่งเปรียบเสมือนการย่อยและดูดซึมธาตุอาหารในร่างกายมนุษย์จริง เทคนิคนี้ช่วยในการคัดกรองพันธุ์ข้าวที่ธาตุเหล็กสูงและมีความเป็นประโยชน์ สูงเบื้องต้น ก่อนที่จะเลือกพันธุ์ดีเด่นไปทดสอบในมนุษย์ต่อไป ผลการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์ในข้าวที่ได้รับการปรับ ปรุงพันธุ์มากกว่า 100 สายพันธุ์ พบว่า ข้าวพันธุ์สินเหล็ก, ข้าวจากคู่ผสมปิ่นเกษตรกับIR71501 สายพันธุ์ที่มีอมัยโลสต่ำ, และข้าวเหนียวสีขาวจากคู่ผสมข้าวหอมพม่ากับก่ำดอยช้าง มีความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กสูงถึงสูงมาก ประมาณ 15-22 นาโนกรัมเฟอร์ริตินต่อมิลลิกรัมเซลล์โปรตีน สายพันธุ์เหล่านี้คือพันธุ์หลักที่จะใช้สำหรับทดสอบในร่างกายมนุษย์ต่อไป การทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์ การศึกษาระยะที่1: เป็นครั้งแรกที่ทำการทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์โดยใช้อาสาสมัคร จำนวน 63 คน ใช้ข้าวธาตุเหล็กสูง 2 สายพันธุ์ คือ สินเหล็ก และไรซ์เบอรี่เปรียบเทียบกับข้าวขัดพันธุ์ปิ่นเกษตรโดยวิธีติดฉลากอาหารด้วย สารรังสี (extrinsic-label radioiron technique) จากการทดลองพบว่าร้อยละของธาตุเหล็กที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึม ได้ในข้าวขัดพันธุ์ สินเหล็ก มีค่าสูงสุดคือ 9.82 นอกจากนี้ยังพบว่าการดูดซึม ธาตุเหล็กจากข้าวขัดทั้ง 2 สายพันธุ์สูงกว่าข้าวกล้องประมาณ 3 เท่า แม้ว่า ข้าวขัดจะมีปริมาณธาตุเหล็กต่ำกว่าข้าวกล้องก็ตาม altการศึกษาระยะที่2 ศึกษาผลของข้าวธาตุเหล็กสูง และผลิตภัณฑ์ต่อภาวะโภชนาการใน เด็กวัยเรียนที่มีภาวะพร่องเหล็กโดยคัดเลือกเด็กนักเรียนที่มีภาวะพร่อง เหล็ก และเป็นโรคโลหิตจาง เพื่อให้รับประทานข้าวธาตุเหล็กสูงพันธุ์ สินเหล็ก และ ผลิตภัณฑ์ของข้าวชนิดนี้ เป็นเวลา 8 เดือน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ รับประทานข้าวที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป โดยการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับ ธาตุเหล็กสะสมในร่างกาย เพื่อเป็นเครื่องชี้วัดประสิทธิภาพของข้าวพันธุ์ สินเหล็ก ขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การส่งเสริม การปลูกข้าวธาตุเหล็กสูงในพื้นที่เป้าหมาย จากความสำเร็จในการพัฒนาพันธุ์ข้าวธาตุเหล็กสูง ปัจจุบันได้ดำเนินการปลูกทดสอบความสม่ำเสมอของพันธุ์ในต่างพื้นที่ รวมทั้งดำเนินการยื่นขอจดคุ้มครอง พันธุ์พืชใหม่ ณ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเตรียมการขยายเมล็ดพันธุ์ให้ เพียงพอ เพื่อส่งเสริมการปลูกให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะการปลูกในพื้นที่ซึ่งมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็ก ประชากรทั่วโลกร้อยละ 66 ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง จากการขาดธาตุ- เหล็ก สำหรับในประเทศไทยพบว่ามีผู้ที่พร่องและขาดธาตุเหล็กประมาณ 13 ล้านคน ผู้ที่ขาดธาตุเหล็ก จะมีการพัฒนาด้านต่างๆ ของร่างกายช้ากว่าคนปกติ การพัฒนาด้านสติปัญญา การเรียนรู้ ประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนด้านภูมิคุ้มกันโรคต่ำลง ยุทธศาสตร์ของการป้องกันการขาดธาตุเหล็กที่ มีอยู่ มักจะใช้วิธีการเสริมยาเม็ดธาตุเหล็กให้บริโภค หรือการเติมธาตุเหล็ก ในอาหารที่บริโภค แต่ยังประสบปัญหา การยอมรับ และ การครอบคลุมให้ทั่วถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายรวมทั้งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง การยกระดับปริมาณธาตุเหล็กในพืชอาหารหลักให้สูงขึ้น น่าจะเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดและมี ประสิทธิภาพ สำหรับประเทศไทยมีข้าวเป็นอาหารหลักที่ทุกคนต้องบริโภค ดังนั้น การปรับปรุง พันธุ์ข้าวให้มีปริมาณธาตุเหล็กสูงขึ้น น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การปรับปรุงความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว altความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว เมื่อเทียบกับธัญพืชอื่นๆ ถือว่าอยู่ใน ระดับที่ต่ำกว่า โดยเฉลี่ยคนไทยบริโภคข้าว 200-250 กรัม ต่อวัน ถ้าความต้องการธาตุเหล็กของร่างกายเฉลี่ยเท่ากับ 15 มก.ต่อวัน (RDA) เมล็ดข้าวจะต้องมีความหนาแน่นของธาตุเหล็กถึง 5 มก.ต่อ 100 กรัม เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับธาตุเหล็กจากข้าวในระดับ 1 ใน 3 ของ RDAปัจจุบันพันธุ์ข้าวที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปมีธาตุเหล็กในข้าวกล้องต่ำกว่า 1.3 มก./100 ก. ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีธาตุเหล็กสูง จึงดำเนินการโดยค้นหาข้าวธาตุเหล็กสูงจาก ข้าวพื้นเมือง เพื่อใช้เป็นพันธุ์สำหรับให้ลักษณะธาตุเหล็กสูง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักพบในข้าวที่มีเมล็ดสีดำ แต่อย่างไรก็ตามการใช้ข้าว จากฐานพันธุกรรมธรรมชาติยังมีข้อจำกัดเนื่องจากข้าวที่มีสีเข้มมักจะมี ปริมาณสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวก โพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก ในปริมาณมาก ในขณะที่ข้าวสีขาวมีสาร ยับยั้งการดูดซึมในปริมาณที่ต่ำกว่า จึงได้มีความพยายามที่จะผสมข้ามพันธุ์ ระหว่างข้าวสีขาวกับข้าวสีม่วง-ดำ เพื่อถ่ายทอดลักษณะธาตุเหล็กสูง ให้กับ พันธุ์ข้าวสีขาว ความสำเร็จในก้าวแรก ได้ค้นพบข้าวที่มีธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 1.6-2.1 มก./100 ก. พันธุ์บริสุทธิ์ที่ได้ให้ชื่อว่า สินเหล็ก เป็นข้าวสีขาว มีกลิ่นหอม มีอมัยโลสค่อนข้างต่ำ ต่อมาได้ค้นพบข้าวเจ้าและข้าวเหนียวสีขาวธาตุเหล็กสูงระดับ 2.2-2.8 มก./100 ก. จากคู่ผสมระหว่างข้าวไร่ หอมพม่าและก่ำดอยช้าง ส่วนพันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กสูงสุดระดับ 4.0 มก./100 ก. ได้จากข้าวคู่ผสมระหว่างข้าวป่านิวาราและเจ้าหอมนิล การปรับปรุงพันธุ์ ในขั้นต่อไปคือการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดมีความเป็นประโยชน์สูงขึ้น ความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็ก เป็นเรื่องยากในการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดข้าวและธัญพืชมีความเป็น ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากความเป็นประโยชน์มีความเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น รูปแบบการสะสมธาตุ เหล็ก, สัดส่วนของสารกระตุ้นและสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก โดยธรรมชาติของเมล็ดธัญพืชจะมี สารที่มีผลในการยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวกโพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก อยู่ในปริมาณมาก การลดสารเหล่านี้ถือว่าเป็นเป้าหมายหลักของการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้าง พันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กในรูปที่เป็นประโยชน์สูง ส่วนปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการดูดซึม ในปัจจุบันยังไม่สามารถเข้าใจได้ชัดเจน รู้แต่เพียงว่า วิตามินซี, กรดอะมิโน เช่น cystein และ oligosacharide สายสั้นๆ พวก inulin น่าจะมีผล ช่วยส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กจากเมล็ดข้าวขัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ห้องปฏิบัติการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กจำลองแห่งแรกใน ประเทศไทย alt ได้มีการพัฒนาวิธีตรวจสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กโดยใช้ Caco-2 cells ซึ่งเปรียบเสมือนการย่อยและดูดซึมธาตุอาหารในร่างกายมนุษย์จริง เทคนิคนี้ช่วยในการคัดกรองพันธุ์ข้าวที่ธาตุเหล็กสูงและมีความเป็นประโยชน์ สูงเบื้องต้น ก่อนที่จะเลือกพันธุ์ดีเด่นไปทดสอบในมนุษย์ต่อไป ผลการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์ในข้าวที่ได้รับการปรับ ปรุงพันธุ์มากกว่า 100 สายพันธุ์ พบว่า ข้าวพันธุ์สินเหล็ก, ข้าวจากคู่ผสมปิ่นเกษตรกับIR71501 สายพันธุ์ที่มีอมัยโลสต่ำ, และข้าวเหนียวสีขาวจากคู่ผสมข้าวหอมพม่ากับก่ำดอยช้าง มีความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กสูงถึงสูงมาก ประมาณ 15-22 นาโนกรัมเฟอร์ริตินต่อมิลลิกรัมเซลล์โปรตีน สายพันธุ์เหล่านี้คือพันธุ์หลักที่จะใช้สำหรับทดสอบในร่างกายมนุษย์ต่อไป การทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์ การศึกษาระยะที่1: เป็นครั้งแรกที่ทำการทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์โดยใช้อาสาสมัคร จำนวน 63 คน ใช้ข้าวธาตุเหล็กสูง 2 สายพันธุ์ คือ สินเหล็ก และไรซ์เบอรี่เปรียบเทียบกับข้าวขัดพันธุ์ปิ่นเกษตรโดยวิธีติดฉลากอาหารด้วย สารรังสี (extrinsic-label radioiron technique) จากการทดลองพบว่าร้อยละของธาตุเหล็กที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึม ได้ในข้าวขัดพันธุ์ สินเหล็ก มีค่าสูงสุดคือ 9.82 นอกจากนี้ยังพบว่าการดูดซึม ธาตุเหล็กจากข้าวขัดทั้ง 2 สายพันธุ์สูงกว่าข้าวกล้องประมาณ 3 เท่า แม้ว่า ข้าวขัดจะมีปริมาณธาตุเหล็กต่ำกว่าข้าวกล้องก็ตาม altการศึกษาระยะที่2 ศึกษาผลของข้าวธาตุเหล็กสูง และผลิตภัณฑ์ต่อภาวะโภชนาการใน เด็กวัยเรียนที่มีภาวะพร่องเหล็กโดยคัดเลือกเด็กนักเรียนที่มีภาวะพร่อง เหล็ก และเป็นโรคโลหิตจาง เพื่อให้รับประทานข้าวธาตุเหล็กสูงพันธุ์ สินเหล็ก และ ผลิตภัณฑ์ของข้าวชนิดนี้ เป็นเวลา 8 เดือน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ รับประทานข้าวที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป โดยการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับ ธาตุเหล็กสะสมในร่างกาย เพื่อเป็นเครื่องชี้วัดประสิทธิภาพของข้าวพันธุ์ สินเหล็ก ขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การส่งเสริม การปลูกข้าวธาตุเหล็กสูงในพื้นที่เป้าหมาย จากความสำเร็จในการพัฒนาพันธุ์ข้าวธาตุเหล็กสูง ปัจจุบันได้ดำเนินการปลูกทดสอบความสม่ำเสมอของพันธุ์ในต่างพื้นที่ รวมทั้งดำเนินการยื่นขอจดคุ้มครอง พันธุ์พืชใหม่ ณ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเตรียมการขยายเมล็ดพันธุ์ให้ เพียงพอ เพื่อส่งเสริมการปลูกให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะการปลูกในพื้นที่ซึ่งมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็ก ประชากรทั่วโลกร้อยละ 66 ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง จากการขาดธาตุ- เหล็ก สำหรับในประเทศไทยพบว่ามีผู้ที่พร่องและขาดธาตุเหล็กประมาณ 13 ล้านคน ผู้ที่ขาดธาตุเหล็ก จะมีการพัฒนาด้านต่างๆ ของร่างกายช้ากว่าคนปกติ การพัฒนาด้านสติปัญญา การเรียนรู้ ประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนด้านภูมิคุ้มกันโรคต่ำลง ยุทธศาสตร์ของการป้องกันการขาดธาตุเหล็กที่ มีอยู่ มักจะใช้วิธีการเสริมยาเม็ดธาตุเหล็กให้บริโภค หรือการเติมธาตุเหล็ก ในอาหารที่บริโภค แต่ยังประสบปัญหา การยอมรับ และ การครอบคลุมให้ทั่วถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายรวมทั้งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง การยกระดับปริมาณธาตุเหล็กในพืชอาหารหลักให้สูงขึ้น น่าจะเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดและมี ประสิทธิภาพ สำหรับประเทศไทยมีข้าวเป็นอาหารหลักที่ทุกคนต้องบริโภค ดังนั้น การปรับปรุง พันธุ์ข้าวให้มีปริมาณธาตุเหล็กสูงขึ้น น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การปรับปรุงความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว altความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว เมื่อเทียบกับธัญพืชอื่นๆ ถือว่าอยู่ใน ระดับที่ต่ำกว่า โดยเฉลี่ยคนไทยบริโภคข้าว 200-250 กรัม ต่อวัน ถ้าความต้องการธาตุเหล็กของร่างกายเฉลี่ยเท่ากับ 15 มก.ต่อวัน (RDA) เมล็ดข้าวจะต้องมีความหนาแน่นของธาตุเหล็กถึง 5 มก.ต่อ 100 กรัม เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับธาตุเหล็กจากข้าวในระดับ 1 ใน 3 ของ RDAปัจจุบันพันธุ์ข้าวที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปมีธาตุเหล็กในข้าวกล้องต่ำกว่า 1.3 มก./100 ก. ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีธาตุเหล็กสูง จึงดำเนินการโดยค้นหาข้าวธาตุเหล็กสูงจาก ข้าวพื้นเมือง เพื่อใช้เป็นพันธุ์สำหรับให้ลักษณะธาตุเหล็กสูง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักพบในข้าวที่มีเมล็ดสีดำ แต่อย่างไรก็ตามการใช้ข้าว จากฐานพันธุกรรมธรรมชาติยังมีข้อจำกัดเนื่องจากข้าวที่มีสีเข้มมักจะมี ปริมาณสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวก โพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก ในปริมาณมาก ในขณะที่ข้าวสีขาวมีสาร ยับยั้งการดูดซึมในปริมาณที่ต่ำกว่า จึงได้มีความพยายามที่จะผสมข้ามพันธุ์ ระหว่างข้าวสีขาวกับข้าวสีม่วง-ดำ เพื่อถ่ายทอดลักษณะธาตุเหล็กสูง ให้กับ พันธุ์ข้าวสีขาว ความสำเร็จในก้าวแรก ได้ค้นพบข้าวที่มีธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 1.6-2.1 มก./100 ก. พันธุ์บริสุทธิ์ที่ได้ให้ชื่อว่า สินเหล็ก เป็นข้าวสีขาว มีกลิ่นหอม มีอมัยโลสค่อนข้างต่ำ ต่อมาได้ค้นพบข้าวเจ้าและข้าวเหนียวสีขาวธาตุเหล็กสูงระดับ 2.2-2.8 มก./100 ก. จากคู่ผสมระหว่างข้าวไร่ หอมพม่าและก่ำดอยช้าง ส่วนพันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กสูงสุดระดับ 4.0 มก./100 ก. ได้จากข้าวคู่ผสมระหว่างข้าวป่านิวาราและเจ้าหอมนิล การปรับปรุงพันธุ์ ในขั้นต่อไปคือการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดมีความเป็นประโยชน์สูงขึ้น ความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็ก เป็นเรื่องยากในการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดข้าวและธัญพืชมีความเป็น ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากความเป็นประโยชน์มีความเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น รูปแบบการสะสมธาตุ เหล็ก, สัดส่วนของสารกระตุ้นและสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก โดยธรรมชาติของเมล็ดธัญพืชจะมี สารที่มีผลในการยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวกโพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก อยู่ในปริมาณมาก การลดสารเหล่านี้ถือว่าเป็นเป้าหมายหลักของการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้าง พันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กในรูปที่เป็นประโยชน์สูง ส่วนปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการดูดซึม ในปัจจุบันยังไม่สามารถเข้าใจได้ชัดเจน รู้แต่เพียงว่า วิตามินซี, กรดอะมิโน เช่น cystein และ oligosacharide สายสั้นๆ พวก inulin น่าจะมีผล ช่วยส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กจากเมล็ดข้าวขัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ห้องปฏิบัติการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กจำลองแห่งแรกใน ประเทศไทย alt ได้มีการพัฒนาวิธีตรวจสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กโดยใช้ Caco-2 cells ซึ่งเปรียบเสมือนการย่อยและดูดซึมธาตุอาหารในร่างกายมนุษย์จริง เทคนิคนี้ช่วยในการคัดกรองพันธุ์ข้าวที่ธาตุเหล็กสูงและมีความเป็นประโยชน์ สูงเบื้องต้น ก่อนที่จะเลือกพันธุ์ดีเด่นไปทดสอบในมนุษย์ต่อไป ผลการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์ในข้าวที่ได้รับการปรับ ปรุงพันธุ์มากกว่า 100 สายพันธุ์ พบว่า ข้าวพันธุ์สินเหล็ก, ข้าวจากคู่ผสมปิ่นเกษตรกับIR71501 สายพันธุ์ที่มีอมัยโลสต่ำ, และข้าวเหนียวสีขาวจากคู่ผสมข้าวหอมพม่ากับก่ำดอยช้าง มีความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กสูงถึงสูงมาก ประมาณ 15-22 นาโนกรัมเฟอร์ริตินต่อมิลลิกรัมเซลล์โปรตีน สายพันธุ์เหล่านี้คือพันธุ์หลักที่จะใช้สำหรับทดสอบในร่างกายมนุษย์ต่อไป การทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์ การศึกษาระยะที่1: เป็นครั้งแรกที่ทำการทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์โดยใช้อาสาสมัคร จำนวน 63 คน ใช้ข้าวธาตุเหล็กสูง 2 สายพันธุ์ คือ สินเหล็ก และไรซ์เบอรี่เปรียบเทียบกับข้าวขัดพันธุ์ปิ่นเกษตรโดยวิธีติดฉลากอาหารด้วย สารรังสี (extrinsic-label radioiron technique) จากการทดลองพบว่าร้อยละของธาตุเหล็กที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึม ได้ในข้าวขัดพันธุ์ สินเหล็ก มีค่าสูงสุดคือ 9.82 นอกจากนี้ยังพบว่าการดูดซึม ธาตุเหล็กจากข้าวขัดทั้ง 2 สายพันธุ์สูงกว่าข้าวกล้องประมาณ 3 เท่า แม้ว่า ข้าวขัดจะมีปริมาณธาตุเหล็กต่ำกว่าข้าวกล้องก็ตาม altการศึกษาระยะที่2 ศึกษาผลของข้าวธาตุเหล็กสูง และผลิตภัณฑ์ต่อภาวะโภชนาการใน เด็กวัยเรียนที่มีภาวะพร่องเหล็กโดยคัดเลือกเด็กนักเรียนที่มีภาวะพร่อง เหล็ก และเป็นโรคโลหิตจาง เพื่อให้รับประทานข้าวธาตุเหล็กสูงพันธุ์ สินเหล็ก และ ผลิตภัณฑ์ของข้าวชนิดนี้ เป็นเวลา 8 เดือน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ รับประทานข้าวที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป โดยการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับ ธาตุเหล็กสะสมในร่างกาย เพื่อเป็นเครื่องชี้วัดประสิทธิภาพของข้าวพันธุ์ สินเหล็ก ขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การส่งเสริม การปลูกข้าวธาตุเหล็กสูงในพื้นที่เป้าหมาย จากความสำเร็จในการพัฒนาพันธุ์ข้าวธาตุเหล็กสูง ปัจจุบันได้ดำเนินการปลูกทดสอบความสม่ำเสมอของพันธุ์ในต่างพื้นที่ รวมทั้งดำเนินการยื่นขอจดคุ้มครอง พันธุ์พืชใหม่ ณ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเตรียมการขยายเมล็ดพันธุ์ให้ เพียงพอ เพื่อส่งเสริมการปลูกให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะการปลูกในพื้นที่ซึ่งมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็ก ประชากรทั่วโลกร้อยละ 66 ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง จากการขาดธาตุ- เหล็ก สำหรับในประเทศไทยพบว่ามีผู้ที่พร่องและขาดธาตุเหล็กประมาณ 13 ล้านคน ผู้ที่ขาดธาตุเหล็ก จะมีการพัฒนาด้านต่างๆ ของร่างกายช้ากว่าคนปกติ การพัฒนาด้านสติปัญญา การเรียนรู้ ประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนด้านภูมิคุ้มกันโรคต่ำลง ยุทธศาสตร์ของการป้องกันการขาดธาตุเหล็กที่ มีอยู่ มักจะใช้วิธีการเสริมยาเม็ดธาตุเหล็กให้บริโภค หรือการเติมธาตุเหล็ก ในอาหารที่บริโภค แต่ยังประสบปัญหา การยอมรับ และ การครอบคลุมให้ทั่วถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายรวมทั้งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง การยกระดับปริมาณธาตุเหล็กในพืชอาหารหลักให้สูงขึ้น น่าจะเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดและมี ประสิทธิภาพ สำหรับประเทศไทยมีข้าวเป็นอาหารหลักที่ทุกคนต้องบริโภค ดังนั้น การปรับปรุง พันธุ์ข้าวให้มีปริมาณธาตุเหล็กสูงขึ้น น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การปรับปรุงความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว altความหนาแน่นของธาตุเหล็กในเมล็ดข้าว เมื่อเทียบกับธัญพืชอื่นๆ ถือว่าอยู่ใน ระดับที่ต่ำกว่า โดยเฉลี่ยคนไทยบริโภคข้าว 200-250 กรัม ต่อวัน ถ้าความต้องการธาตุเหล็กของร่างกายเฉลี่ยเท่ากับ 15 มก.ต่อวัน (RDA) เมล็ดข้าวจะต้องมีความหนาแน่นของธาตุเหล็กถึง 5 มก.ต่อ 100 กรัม เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับธาตุเหล็กจากข้าวในระดับ 1 ใน 3 ของ RDAปัจจุบันพันธุ์ข้าวที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปมีธาตุเหล็กในข้าวกล้องต่ำกว่า 1.3 มก./100 ก. ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีธาตุเหล็กสูง จึงดำเนินการโดยค้นหาข้าวธาตุเหล็กสูงจาก ข้าวพื้นเมือง เพื่อใช้เป็นพันธุ์สำหรับให้ลักษณะธาตุเหล็กสูง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักพบในข้าวที่มีเมล็ดสีดำ แต่อย่างไรก็ตามการใช้ข้าว จากฐานพันธุกรรมธรรมชาติยังมีข้อจำกัดเนื่องจากข้าวที่มีสีเข้มมักจะมี ปริมาณสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวก โพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก ในปริมาณมาก ในขณะที่ข้าวสีขาวมีสาร ยับยั้งการดูดซึมในปริมาณที่ต่ำกว่า จึงได้มีความพยายามที่จะผสมข้ามพันธุ์ ระหว่างข้าวสีขาวกับข้าวสีม่วง-ดำ เพื่อถ่ายทอดลักษณะธาตุเหล็กสูง ให้กับ พันธุ์ข้าวสีขาว ความสำเร็จในก้าวแรก ได้ค้นพบข้าวที่มีธาตุเหล็กในข้าวกล้อง 1.6-2.1 มก./100 ก. พันธุ์บริสุทธิ์ที่ได้ให้ชื่อว่า สินเหล็ก เป็นข้าวสีขาว มีกลิ่นหอม มีอมัยโลสค่อนข้างต่ำ ต่อมาได้ค้นพบข้าวเจ้าและข้าวเหนียวสีขาวธาตุเหล็กสูงระดับ 2.2-2.8 มก./100 ก. จากคู่ผสมระหว่างข้าวไร่ หอมพม่าและก่ำดอยช้าง ส่วนพันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กสูงสุดระดับ 4.0 มก./100 ก. ได้จากข้าวคู่ผสมระหว่างข้าวป่านิวาราและเจ้าหอมนิล การปรับปรุงพันธุ์ ในขั้นต่อไปคือการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดมีความเป็นประโยชน์สูงขึ้น ความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็ก เป็นเรื่องยากในการปรับปรุงให้ธาตุเหล็กในเมล็ดข้าวและธัญพืชมีความเป็น ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากความเป็นประโยชน์มีความเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น รูปแบบการสะสมธาตุ เหล็ก, สัดส่วนของสารกระตุ้นและสารยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก โดยธรรมชาติของเมล็ดธัญพืชจะมี สารที่มีผลในการยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็กพวกโพลีฟีนอล, แทนนิน และไฟติก อยู่ในปริมาณมาก การลดสารเหล่านี้ถือว่าเป็นเป้าหมายหลักของการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้าง พันธุ์ข้าวที่มีธาตุเหล็กในรูปที่เป็นประโยชน์สูง ส่วนปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการดูดซึม ในปัจจุบันยังไม่สามารถเข้าใจได้ชัดเจน รู้แต่เพียงว่า วิตามินซี, กรดอะมิโน เช่น cystein และ oligosacharide สายสั้นๆ พวก inulin น่าจะมีผล ช่วยส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กจากเมล็ดข้าวขัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ห้องปฏิบัติการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กจำลองแห่งแรกใน ประเทศไทย alt ได้มีการพัฒนาวิธีตรวจสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กโดยใช้ Caco-2 cells ซึ่งเปรียบเสมือนการย่อยและดูดซึมธาตุอาหารในร่างกายมนุษย์จริง เทคนิคนี้ช่วยในการคัดกรองพันธุ์ข้าวที่ธาตุเหล็กสูงและมีความเป็นประโยชน์ สูงเบื้องต้น ก่อนที่จะเลือกพันธุ์ดีเด่นไปทดสอบในมนุษย์ต่อไป ผลการทดสอบความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์ในข้าวที่ได้รับการปรับ ปรุงพันธุ์มากกว่า 100 สายพันธุ์ พบว่า ข้าวพันธุ์สินเหล็ก, ข้าวจากคู่ผสมปิ่นเกษตรกับIR71501 สายพันธุ์ที่มีอมัยโลสต่ำ, และข้าวเหนียวสีขาวจากคู่ผสมข้าวหอมพม่ากับก่ำดอยช้าง มีความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กสูงถึงสูงมาก ประมาณ 15-22 นาโนกรัมเฟอร์ริตินต่อมิลลิกรัมเซลล์โปรตีน สายพันธุ์เหล่านี้คือพันธุ์หลักที่จะใช้สำหรับทดสอบในร่างกายมนุษย์ต่อไป การทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์ การศึกษาระยะที่1: เป็นครั้งแรกที่ทำการทดสอบการดูดซึมธาตุเหล็กในมนุษย์โดยใช้อาสาสมัคร จำนวน 63 คน ใช้ข้าวธาตุเหล็กสูง 2 สายพันธุ์ คือ สินเหล็ก และไรซ์เบอรี่เปรียบเทียบกับข้าวขัดพันธุ์ปิ่นเกษตรโดยวิธีติดฉลากอาหารด้วย สารรังสี (extrinsic-label radioiron technique) จากการทดลองพบว่าร้อยละของธาตุเหล็กที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึม ได้ในข้าวขัดพันธุ์ สินเหล็ก มีค่าสูงสุดคือ 9.82 นอกจากนี้ยังพบว่าการดูดซึม ธาตุเหล็กจากข้าวขัดทั้ง 2 สายพันธุ์สูงกว่าข้าวกล้องประมาณ 3 เท่า แม้ว่า ข้าวขัดจะมีปริมาณธาตุเหล็กต่ำกว่าข้าวกล้องก็ตาม altการศึกษาระยะที่2 ศึกษาผลของข้าวธาตุเหล็กสูง และผลิตภัณฑ์ต่อภาวะโภชนาการใน เด็กวัยเรียนที่มีภาวะพร่องเหล็กโดยคัดเลือกเด็กนักเรียนที่มีภาวะพร่อง เหล็ก และเป็นโรคโลหิตจาง เพื่อให้รับประทานข้าวธาตุเหล็กสูงพันธุ์ สินเหล็ก และ ผลิตภัณฑ์ของข้าวชนิดนี้ เป็นเวลา 8 เดือน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ รับประทานข้าวที่มีขายในท้องตลาดทั่วไป โดยการประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับ ธาตุเหล็กสะสมในร่างกาย เพื่อเป็นเครื่องชี้วัดประสิทธิภาพของข้าวพันธุ์ สินเหล็ก ขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การส่งเสริม การปลูกข้าวธาตุเหล็กสูงในพื้นที่เป้าหมาย จากความสำเร็จในการพัฒนาพันธุ์ข้าวธาตุเหล็กสูง ปัจจุบันได้ดำเนินการปลูกทดสอบความสม่ำเสมอของพันธุ์ในต่างพื้นที่ รวมทั้งดำเนินการยื่นขอจดคุ้มครอง พันธุ์พืชใหม่ ณ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเตรียมการขยายเมล็ดพันธุ์ให้ เพียงพอ เพื่อส่งเสริมการปลูกให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะการปลูกในพื้นที่ซึ่งมีประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็ก
ผู้แสดงความคิดเห็น ประชากร วันที่ตอบ 2010-06-20 16:17:29


ความคิดเห็นที่ 6 (1404411)
กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด กรรมวิธีผลิตเหล็กดิบ แร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นโลกในครั้งแรกนั้น จะอยู่ในลักษณะเป็นของผสม ซึ่งมีสารอื่นๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย แร่เหล็กที่บริสุทธิ์จริงๆ นั้นเกือบจะไม่มีเลย อาจพบบ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก้อนโตๆ เมื่อนำแร่เหล็กมาถลุงจะได้เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กบริสุทธิ์นี้นำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได้น้อย เนื่องจากมีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ดังนั้น เหล็กที่จะนำไปใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะเป็นเหล็กประสม สารที่ผสมลงไปในเนื้อเหล็กมีทั้งที่เป็นโลหะและอโลหะ ทั้งนี้เพื่อต้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให้สามารถนำไปใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่นทำให้สามารถทนต่อแรงดึงได้มากขึ้น ทำให้เหล็กมีความแข็งมากขึ้น การถลุงเหล็กดิบ อุปกรณ์ที่สำคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กที่จะนำไปถลุงแล้ว ยังต้องมีวัตถุดิบอย่างอื่นอีกที่ต้องใส่ลงไปในเตาสูงด้วย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพเหล็กดิบที่ได้ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงเหล็กดิบ 1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็นวัตถุหลักในการผลิต ได้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได้แล้ว ก่อนที่จะป้อนเข้าเตาเผาจะต้องผ่านการเตรียมแร่ก่อน เพื่อให้เหลือสารเจือปนน้อยที่สุด 2.ถ่านโค้ก (Coke) เป็นเชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนั้นยังเป็นสารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีภายในเตา เป็นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทำการถลุง ถ่านโค้ก เป็นสารสังเคราะห์ที่ได้จากการนำถ่านหิน ผ่านกรรมวิธีกลั่นทำลาย คือ นำเอาอ่านหินไปบรรจุในที่จำกัดมิให้อากาศเข้าได้ แล้วให้ความร้อนจนถ่านร้อนแดง สารไฮโดรคราบอนที่อยู่ในถ่านหินจะระเหยออกไปเป็นแก๊ส 3.หินปูน (Limestone) หรือมีชื่อทางเคมีว่า แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัตถุดิบที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบ ที่ต้องใส่หินปูนลงไปด้วยนั้น เพื่อทำหน้าที่เป็นฟลั๊ก แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนั้นยังทำให้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึ่งมีจุดหลอมละลายสูง มีอุณหภูมิต่ำลง สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็นขี้ตะกรัน และลอยตัวอยู่เหนือผิวน้ำเหล็ก หน้าที่อีกอย่างหนึ่งของหินปูน ก็คือ เป็นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุที่ต้องใส่เศษเหล็ก ซึ่งผ่านการถลุงมาแล้วครั้งหนึ่งลงไปด้วย เนื่องจากต้องการประหยัดสินแร่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กที่ใส่ลงไปนั้นจะต้องมีการคัดเลือกเหล็กที่มีสารเจือปนจำพวกสารที่มิใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ดีบุก ฯลฯ ให้ปะปนอยู่น้อยที่สุด เพราะสารเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา ก่อนที่จะป้อนเศษเหล็กเข้าเตาเผาจะต้องทำความสะอาด พยายามกำจัดสารเจือปนและสนิมให้มากที่สุด นอกจากนั้นยังต้องบดให้ได้ขนาดตามต้องการอีกด้วย เศษเหล็กที่มีส่วนผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดินัม เป็นเศษเหล็กที่ต้องการมากกว่าเศษเหล็กกล้าคาร์บอน เนื่องจากสารเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยให้เหล็กดิบที่ผลิตออกมามีคุณภาพดียิ่งขึ้น แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วัตถุดิบที่จำเป็นต้องใส่เสมอไป บางครั้งอาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว 5.อากาศ (Air) เป็นวัตถุดิบที่สำคัญอีกอย่าง เนื่องจากในการเผาไหม้ภายในเตา ต้องการออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เป็นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนที่หาง่ายสุดคืออากาศที่ใช้หายใจ อากาศจะถูกปั้มลมเป่าเข้าไปในเตาเผา แต่ลมที่พ่นเข้าไปนั้นจะต้องอุ่นให้ร้อนเสียก่อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่เตาเป็นการประหยัดเชื้อเพลิง 6.น้ำ (Water) ใช้สำหรับระบายความร้อนบริเวณเปลือกเตาซึ่งทำด้วยแผ่นเหล็ก น้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาด โดยทั่วไปอาจใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลองแต่ไม่ควรใช้น้ำทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิ้นส่วนของเปลือกเตาชำรุดได้ง่าย การเตรียมสินแร่เหล็ก สินแร่เหล็กที่ขุดได้จากพื้นดินนั้น ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได้ทันที ต้องผ่านการแยกสิ่งสกปรกที่ติดอยู่เสียก่อน สินแร่ที่มีอยู่บนพื้นโลกมีมากมายหลายชนิด
ผู้แสดงความคิดเห็น พร วันที่ตอบ 2011-01-17 23:20:19


ความคิดเห็นที่ 7 (1435823)
อยากรู้เรื่องอลูมิเนียมผสมสังกะสี(A7075)ช่วยบอกทีครับ
ผู้แสดงความคิดเห็น สกาวรัตน์ วันที่ตอบ 2011-07-26 16:53:28


ความคิดเห็นที่ 8 (1505523)
ขายอลูมิเนียมแผ่น,จำหน่ายอลูมิเนียม,อลูมิเนียมเกรด

Aluminium1100 Aluminium2024 Aluminium5052 Aluminium5083 Aluminium6061 Aluminium7075

Brand ยี่ห้อ Aleris , Alcoa , Alcan , Kumw

ALUMINIUM SHEET / PLATE / REFLECTOR / EXTRUSION / FLAT BAR / ROUND BAR / TUBE / CHECKERED PLATE / COIL / WELDING WIRE


อลูมิเนียมแผ่น,อลูมิเนียมอโนไดซ์,อลูมิเนียมสะท้อนแสง,อลูมิเนียมเส้นแบน,เพลาอลูมิเนียม,อลูมิเนียมกลม,ท่ออลูมิเนียม,อลูมิเนียมฉาก,อลูมิเนียมกล่อง,อลูมิเนียมแผ่นลาย กันลื่น ตีนไก่ ตีนเป็ด,ลวดเชื่อมอลูมิเนียม,อลูมิเนียมทีบาร์,อลูมิเนียมตัวยู,อลูมิเนียมตัวU,ลวดอลูมิเนียม 5356 ,อลูมิเนียมหกเหลี่ยม,อลูมิเนียมแคลดดิ้งClading



อลูมิเนียม1100,อลูมิเนียม1100AQ(Anodizing Quality),อลูมิเนียม1050,อลูมิเนียม1060,อลูมิเนียม3003,อลูมิเนียม3004,อลูมิเนียม2011,อลูมินียม2017,อลูมิเนียม2024,อลูมิเนียม5356,อลูมิเนียม5052,อลูมิเนียม5083,อลูมิเนียม5182,อลูมิเนียม5754,อลูมิเนียม6061,อลูมิเนียม6063,อลูมิเนียม7022,อลูมิเนียม7075,อลูมิเนียม,อลูมิเนียม6082,อลูมิเนียม5005,อลูมิเนียม8011


Aluminium Reflector อลูมิเนียมแผ่นสะท้อนแสง
Aluminium1100AQ ( Anodizing Quality ) อลูมิเนียมแผ่นสำหรับอโนไดซ์โดยเฉพาะ




Mill Certificate provided

ติดต่อ 0 8 - 3 0 3 - 1 1 1 - 7 8
ผู้แสดงความคิดเห็น 7075 วันที่ตอบ 2012-07-03 17:54:33


ความคิดเห็นที่ 9 (1505524)
ขายอลูมิเนียมแผ่น,จำหน่ายอลูมิเนียม,อลูมิเนียมเกรด

Aluminium1100 Aluminium2024 Aluminium5052 Aluminium5083 Aluminium6061 Aluminium7075

Brand ยี่ห้อ Aleris , Alcoa , Alcan , Kumw

ALUMINIUM SHEET / PLATE / REFLECTOR / EXTRUSION / FLAT BAR / ROUND BAR / TUBE /
 
CHECKERED PLATE / COIL / WELDING WIRE


อลูมิเนียมแผ่น,อลูมิเนียมอโนไดซ์,อลูมิเนียมสะท้อนแสง,อลูมิเนียมเส้นแบน,เพลาอลูมิเนียม,อลูมิเนียมกลม,ท่ออลูมิเนียม,อลูมิเนียมฉาก,อลูมิเนียมกล่อง,
 
อลูมิเนียมแผ่นลาย กันลื่น ตีนไก่ ตีนเป็ด,ลวดเชื่อมอลูมิเนียม,อลูมิเนียมทีบาร์,อลูมิเนียมตัวยู,อลูมิเนียมตัวU,ลวดอลูมิเนียม 5356 ,อลูมิเนียมหกเหลี่ยม,
 
อลูมิเนียมแคลดดิ้งClading



อลูมิเนียม1100,อลูมิเนียม1100AQ(Anodizing Quality),อลูมิเนียม1050,อลูมิเนียม1060,อลูมิเนียม3003,อลูมิเนียม3004,อลูมิเนียม2011,
 
อลูมินียม2017,อลูมิเนียม2024,อลูมิเนียม5356,อลูมิเนียม5052,อลูมิเนียม5083,อลูมิเนียม5182,อลูมิเนียม5754,อลูมิเนียม6061,อลูมิเนียม6063
 
,อลูมิเนียม7022,อลูมิเนียม7075,อลูมิเนียม,อลูมิเนียม6082,อลูมิเนียม5005,อลูมิเนียม8011


Aluminium Reflector อลูมิเนียมแผ่นสะท้อนแสง

Aluminium1100AQ ( Anodizing Quality ) อลูมิเนียมแผ่นสำหรับอโนไดซ์โดยเฉพาะ




Mill Certificate provided

ติดต่อ 0 8 - 3 0 3 - 1 1 1 - 7 8
ผู้แสดงความคิดเห็น 7075 วันที่ตอบ 2012-07-03 17:55:49



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล